162173 รีวงู

162173 รีวงู (Ryugu) หรือ 1999 JU3 ตามการตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อยชั่วคราว เป็นเทห์ฟ้าใกล้โลก (NEO) และเป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีศักยภาพเป็นอันตรายต่อโลก (PHO) ดวงหนึ่งในกลุ่มอะพอลโล มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 กิโลเมตร ถือเป็นเทหวัตถุสีเข้มที่จัดอยู่ในชนิดของสเปกตรัมประเภท Cg ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นดาวเคราะห์น้อยทั้งประเภท G และ C ดาวเคราะห์น้อยรีวงูเป็นเป้าหมายของการสำรวจโดยยานสำรวจอวกาศ ฮายาบูซะ 2 ซึ่งปล่อยจากโลกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 มีกำหนดถึงเป้าหมายในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 เพื่อเก็บตัวอย่างส่งกลับโลก และกลับถึงโลกราวปลายปี พ.ศ. 2563[10]

162173 รีวงู

ค้นพบโดย: LINEAR, Lincoln Lab's ETS
เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย: 0.865±0.015 km[3]
0.87 กิโลเมตร[4]
0.90±0.14 กิโลเมตร[5]
0.92±0.12 กิโลเมตร[6]
0.980±0.029 กิโลเมตร[7]
1.13±0.03 กิโลเมตร[8]
โชติมาตรสัมบูรณ์: 18.69±0.07 (R)[4]
18.82[6]
19.2[7]
19.25±0.03[3]
19.3[1][2]
อนอมัลลีเฉลี่ย: 3.9832°
ค้นพบเมื่อ: 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2542
ชนิดสเปกตรัม: SMASS = Cg[2] · C[3]
คาบการหมุนรอบตัวเอง: 7.627±0.007 h[7][9]
กึ่งแกนเอก: 1.1896 AU
อัตราส่วนสะท้อน: 0.037±0.002[7]
0.042±0.003[8]
0.047±0.003[3]
0.063±0.020[6]
0.07±0.01[5]
0.078±0.013[4]
ความเอียง: 5.8837°
ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด: 1.4159 AU
คาบการโคจร: 1.30 ปี (474 วัน)
ชื่อตามระบบ MPC: (162173) รีวงู
ความเยื้องศูนย์กลาง: 0.1902
ชื่ออื่น ๆ: 1999 JU3
ระยะจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: 0.9633 AU

แหล่งที่มา

WikiPedia: 162173 รีวงู http://www.asterank.com/ http://www.syfy.com/syfywire/asteroid-ryugu-starts... http://adsabs.harvard.edu/abs/2008AJ....135.1101V http://adsabs.harvard.edu/abs/2008LPI....39.1594A http://adsabs.harvard.edu/abs/2008PASJ...60S.399H http://adsabs.harvard.edu/abs/2009A&A...503L..17C http://adsabs.harvard.edu/abs/2013A&A...550L..11K http://adsabs.harvard.edu/abs/2013Icar..224...24M http://adsabs.harvard.edu/abs/2014ChA&A..38..317L http://adsabs.harvard.edu/abs/2017A&A...599A.103M